วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556
สรุปวิจัย ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์จากวัสดุธรรมชาติ
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์เป็นทักษะหนึ่งที่จําเป็นและควรปลูกฝังให้กับเด็กปฐมวัย
โดยการสอดแทรกและบูรณาการทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์กับทุกกิจกรรม โดยครูควรให้เด็กมี
โอกาสฝึกทักษะด้านคณิตศาสต์เพื่อส่งเสริมให้เกิดการคิดโดยใช้เหตุผล การค้นคว้าหาคําตอบในสิ่ง
ต่างๆ ด้วยตนเอง สามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว โดยอาศัยการสังเกต การสํารวจ การจําแนก
การเปรียบเทียบ การจัดหมวดหมู่ การจัดลําดับ การนับ และการทําตามแบบ ซึ่งเด็กจะเกิด
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์จากกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเลข รูปร่าง รูปทรง ขนาด
ลําดับ และความสัมพันธุ์กับสิ่งต่างๆเพราะโดยปกติเด็กจะเรียนรู้ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์จาก
การได้รับประสบการณ์ในการดํารงชีวิตประจําวันตามธรรมชาติอยู่แล้ว ตามที่ครอฟต์และเฮสส์ (วาโร
เพ็งสวัสดิ์. 2542: 13; อ้างอิงจาก Croft; & Hess. 1885 ) กล่าวว่าคณิตศาสตร์เป็นความสามารถ
ด้านสติปัญญาอีกด้านหนึ่งที่ควรส่งเสริมและจัดประสบการณ์ให้กับเด็กระดับปฐมวัยเนื่องจาก
คณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการดํารงชีวิต ซึ่งถ้ามองไปรอบตัวก็จะเห็นว่าชีวิตต้องเกี่ยวข้องกับ
คณิตศาสตร์อย่างมากมาย เริ่มต้นตั้งแต่เลขที่บ้าน ทะเบียนบ้าน ทะเบียนรถ ปฏิทิน นาฬิกา เวลา
การซื้อขายการติดต่อสื่อสาร การตื่นนอนเวลาไหน ไปพบกับใคร ใช้โทรศัพท์เบอร์อะไร ขึ้นรถเมล์ เบอร์อะไร สิ่งเหล่านี้เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ทั้งสิ้น (นิตยา ประพฤติกิจ. 2541: 2) จากที่กล่าวมาจะ
เห็นได้ว่าทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์มีความสําคัญสําหรับเด็กและควรสอดแทรกบูรณาการกับทุก
กิจกรรม
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์เป็นกิจกรรม 1 ใน 6 กิจกรรมที่เด็กปฐมวัยจะต้องปฏิบัติในแต่ละ
วัน โดยกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถส่งเสริมให้เด็กเกิดกระบวนการคิด
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการ ซึ่งนอกจากจะให้เด็กฝึกการใช้ความคิด และการใช้สายตา
และมือให้ประสานสัมพันธ์กันแล้วกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ยังช่วยถ่ายทอดความรู้และความรู้สึกของ
เด็กออกมาในรูปของงานศิลปะเช่น การวาดภาพ การปั้น การฉีก-ปะการพิมพ์ภาพ การร้อยการประดิษฐ์ หรือวิธีการอื่นที่เด็กคิดสร้างสรรค์ผลงาน (กุลยา ตันติผลาชีวะ. 2547: 7) ผลงานของเด็กที่แสดงออกมา
จะสะท้อนความสนใจ การรับรู้ และความพร้อมของเด็กแต่ละคนผ่านสื่อวัสดุที่เหมาะสม สื่ออย่าง
หนึ่งที่จะทําให้เด็กเกิดความสนใจเกิดการเรียนรู้และคิดสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะ คือ วัสดุอุปกรณ์ ที่มาจากธรรมชาติเช่น ดิน หิน ทรายเมล็ดพืช ข้าวเปลือก ฟางข้าว กิ่งไม้ดอกไม้การทํางาน
ศิลปสร้างสรรค์จากวัสดุธรรมชาติทําให้เด็กได้มีโอกาสสังเกต และสัมผัสวัสดุอุปกรณ์ที่มีลักษณะ
แตกต่างกันในเรื่องของรูปร่าง รูปทรง ขนาด พื้นผิวสัมผัส น้ําหนักอ่อน - แก่ของสีฯลฯ ซึ่งส่งเสริม
ให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดและทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับรูปร่างลักษณะ รูปทรง
ความกว้าง ความยาว ความสูง (สูง-ต่ํา) ขนาด ( เล็ก-ใหญ่) พื้นผิว (เรียบ ขรุขระ หยาบ) จากการ
มีประสบการณกับสื่อที่เป็นวัสดุธรรมชาติที่อยู่รอบตัว เป็นการเรียนรู้โดยการใช้ความรู้สึกสัมผัสกับสิ่ง3
ที่เป็นวัสดุจากธรรมชาติอย่างแท้จริง (พีระพงษ์ กุลพิศาล. 2536: 9 - 29) กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ จากวัสดุธรรมชาติเป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ประเภทหนึ่งที่มีคุณค่าแก่เด็กหลายประการ อาทิเช่น ทํา
ให้เกิดการทํางานร่วมกันระหว่างร่างกายกับสมองที่สมบูรณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และ
จินตนาการเป็นของตนเอง เกิดความกระตือรือร้นอยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกตและช่างซักถามในเรื่อง
ที่สงสัย ช่วยฝึกกล้ามเนื้อมือให้มีความแข็งแรง ฝึกการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือกับ
สายตา ส่งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง ทําให้เด็กมีโอกาสแสดงออกทางอารมณ์รู้สึกผ่อนคลาย มี
ความสนุกสนานเพลิดเพลิน มีสมาธิในการทํางาน เปิดโอกาสให้เด็กทํางานตามลําพังและทํางาน
ร่วมกับเพื่อนเป็นกลุ่ม รู้จักปรับตัวที่จะทํางานร่วมกัน ฝึกการอดทน การรอคอย การแบ่งปัน การ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การมีวินัยในตนเองและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ดังนั้นกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ จากวัสดุธรรมชาติจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดและทักษะทางคณิตศาสตร์ รวมทั้งเป็นการปลูกฝังให้เด็กมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์จากวัสดุธรรมชาติ โดยให้เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมศิลป
สร้างสรรค์ด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ผ่านสื่อและวัสดอุ ปกรณ์ที่ เป็นวัสดุธรรมชาติที่มีลักษณะแตกต่างกัน ซึ่งจะทําให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน เกิดการ
เรียนรู้อย่างเป็นธรรมชาติภายใต้วัฒนธรรมและภูมิปัญญาในท้องถิ่นที่เด็กอาศัยอยู่ บนพื้นฐานของ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของ
เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์จากวัสดุธรรมชาติก่อนและหลังการทดลองเพื่อเป็น
แนวทางให้ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องนําไปประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะทาง
คณิตศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัยได้อย่างเหมาะสมต่อไป
วันศุกร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556
หน่วยมะพร้าว
งานกลุ่ม การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ หน่วย มะพร้าว
แผนการสอน
วันจันทร์ ชนิดของมะพร้าว
วันอังคาร ลักษณะของมะพร้าว
วันพุธ ประโยชน์ของมะพร้าว
วันพฤหัสบดี ประกอบอาหาร(น้ำมะพร้าว)
บันทึกการเรียนครั้งที่ 15
วันศุกร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 15
อาจารย์ได้ให้ออกมาสาธิตการสอน ซึ่งกลุ่มแรกที่ออกมา คือ หน่วย ผลไม้ ประกอบด้วย
วันที่ จันทร์ ชนิดของผลไม้
วันอังคาร ลักษณะของผลไม้ ซึ่งยกมา 2 ชนิด คือ ส้ม กับ สับปะรด
วันพุธ ประโยชน์ของผลไม้ ซึ่งเล่าเป็นนิทาน
วันพฤหัสบดี การถนอมอาหาร
บันทึกการเรียนครั้งที่ 14
วันศุกร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
วันนี้ไม่มีการเรียนสอน งานที่ได้รับมอบหมาย ให้นักศึกษาทำ Mind Mapping เรื่องสาระและมาตรฐานคณิตศาสตร์ส่งในสัปดาห์หน้า ให้นักศึกษาเตรียมตัวสอบสอนตามหน่วยที่กำหนดขึ้นมาเองในกลุ่ม โดยออกมาสอน 5 คน คนละวัน โดยใช้เวลาไม่เกิน 10-20 ต่อคน
บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 14
วันนี้ไม่มีการเรียนสอน งานที่ได้รับมอบหมาย ให้นักศึกษาทำ Mind Mapping เรื่องสาระและมาตรฐานคณิตศาสตร์ส่งในสัปดาห์หน้า ให้นักศึกษาเตรียมตัวสอบสอนตามหน่วยที่กำหนดขึ้นมาเองในกลุ่ม โดยออกมาสอน 5 คน คนละวัน โดยใช้เวลาไม่เกิน 10-20 ต่อคน
หน่วยของกลุ่มข้าพเจ้า คือ มะพร้าว
บันทึกการเรียนครั้งที่ 13
วันศุกร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2556
วันนี้อาจารย์ดูงาน Mind Map ที่กลับไปแก้ไขครั้งที่แล้วอีกครั้ง หลังจากนั้นอาจารย์ได้สอนในเรื่องของสาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์
งานที่ได้รับมอบหมาย ให้นักศึกษาทำ Mind Map เรื่องสาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยทำใส่ลงใน A4 ส่งในคาบต่อไป
บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 13
วันนี้อาจารย์ดูงาน Mind Map ที่กลับไปแก้ไขครั้งที่แล้วอีกครั้ง หลังจากนั้นอาจารย์ได้สอนในเรื่องของสาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์
งานที่ได้รับมอบหมาย ให้นักศึกษาทำ Mind Map เรื่องสาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยทำใส่ลงใน A4 ส่งในคาบต่อไป
บันทึกการเรียนครั้งที่ 12
วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556
วันนี้อาจารย์ให้ส่งหน่วยที่เป็นแบบ Mind Map และงานเดี่ยวที่เป็นแผนการจัดกิจกรรม 5 วัน เพื่อตรวจและนำจุดที่บกพร่องไปปรับปรุงแก้ไข
หลังจากส่งงานเสร็จอาจารย์ได้ยกตัวอย่างของเพื่อน ในหน่วยเรื่อง ไข่ โดยอธิบาย ดังนี้ ชนิดของไข่ 1.
1.ไข่เป็ด
2.ไข่ไก่
สอนในเรื่องของ สี
- สอนในเรื่องของการแยกประเภท -
- สอนในเรื่องของ เปรียบเทียบ และจำนวน
- สอนในเรื่องของ ขนาด
- สอนในเรื่องของ รูปทรง
บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 12
วันนี้อาจารย์ให้ส่งหน่วยที่เป็นแบบ Mind Map และงานเดี่ยวที่เป็นแผนการจัดกิจกรรม 5 วัน เพื่อตรวจและนำจุดที่บกพร่องไปปรับปรุงแก้ไข
หลังจากส่งงานเสร็จอาจารย์ได้ยกตัวอย่างของเพื่อน ในหน่วยเรื่อง ไข่ โดยอธิบาย ดังนี้ ชนิดของไข่ 1.
1.ไข่เป็ด
2.ไข่ไก่
ความรู้ที่ได้รับ
-
สอนให้เด็กรู้จักชนิดของใครโดยถามเด็กว่ารู้จักไข่ชนิดใดบ้าง
-สอนในเรื่องของ สี
- สอนในเรื่องของการแยกประเภท -
- สอนในเรื่องของ เปรียบเทียบ และจำนวน
- สอนในเรื่องของ ขนาด
- สอนในเรื่องของ รูปทรง
ไข่ไก่
ไข่เป็ด
บันทึกการเรียนครั้งที่ 11
วันศุกร์ที 11 มกราคม 2556
อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มนำเสนองานกลุ่ม
1. กลุ่มสื่อเรื่องจำนวน
บันทึกการเรียนครั้งที่ 11
อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มนำเสนองานกลุ่ม
1. กลุ่มสื่อเรื่องจำนวน
2. กลุ่มสื่อเรื่องกราฟ
3. กลุ่มสื่อเรื่องปฎิทิน
หลังจากนั้นอาจารย์ก็สอนเรื่อง หน่วยแตงโม
งานที่ได้รับมอบหมาย ให้นักศึกษาจับกลุ่มละ 5 คน คิดหน่วยการสอนมา 1 หน่วย พร้อมทำ Mind Map และเขียนแผนการสอนทั้ง 5 วัน
บันทึกการเรียนครั้งที่ 10
วันศุกร์ที่ 4 มกราคม 2556
บันทึกการเรียนครั้งที่ 10
อาจารย์ให้นำสื่อกลุ่มที่สั่งมาดู ซึ่งแต่ละกลุ่มต้องนำกลับไปแก้ไขและปรับปรุง
ซึ่งกลุ่มของดิฉันทำสื่อ ปฏิทิน ซึ่งก็ต้องแก้ไข เพราะยังไม่มีความแข็งแรงพอ
บันทึกการเรียนครั้งที่ 7
วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 7
วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ หมายถึง วิชาที่เกี่ยวกับการคิด การคำนวณ โดยใช้หลักความเป็นเหตุเป็นผล เกณฑ์หรือมาตราฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย ซึ่งในการกำหนดเกณฑ์มาตราฐาน สสวท.เป็นผู้ กำหนด มีดังนี้
บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 7
วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ หมายถึง วิชาที่เกี่ยวกับการคิด การคำนวณ โดยใช้หลักความเป็นเหตุเป็นผล เกณฑ์หรือมาตราฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย ซึ่งในการกำหนดเกณฑ์มาตราฐาน สสวท.เป็นผู้ กำหนด มีดังนี้
อาจารย์ถาม เพื่อนตอบ
มาตราฐานทางคณิตศาสตร์มีอะไรบ้าง
ตอบ
1. การวัด
2. เกณฑ์
3. คุณภาพ
มาตราฐานเป็นสิ่งที่จำเป็น คือ
- เป็นตัวบ่งบอกให้รู้ว่าเรามีคุณภาพ สถานศึกษามีคุณภาพ สสวท กำหนดมาตราฐานทางคณิตศาสตร์
คือสิ่งที่เป็นแนวทางที่จะให้เราจัดประสบการณ์ตามมาตราฐานที่กำหนดไว้
- เราต้องจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับการพัฒนาการของเด็ก
- เรียนรู็ผ่านการเล่น โดยใช้ประสบการณ์ลงมือกระทำกับวัตถุอย่างอิสระด้วยตนเอง
บันทึกการเรียนครั้งที่ 6
วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 6
อาจารย์ได้เข้าสู่การเรียนการสอน ในเรื่องที่สอนยังคงเป็นในเรื่องของขอบข่ายของคณิตศาสตร์ทั้ง 12 ข้อ โดยยกตัวอย่างกับกล่องที่เตรียมมา ว่าจะนำมาใช้จัดประสบการณ์ได้อย่างไร เมื่ออาจารย์ยกตัวอย่างครบทั้ง 12 ข้อแล้วอาจารย์ก็ได้ให้เริ่มกิจกรรมดังนี้ ให้จับกลุ่ม 11 คนแล้วนำกล่องที่เตรียมมาของทุกคนในกลุ่มมาต่อกันให้เป็นรูปตามความคิดของแต่ละคนในกลุ่ม โดยที่มีข้อบังคับว่า - กลุ่มแรก วางแผน ปรึกษา พูดได้ - กลุ่มสอง วางแผน แต่พูดไม่ได้ - กลุ่มสาม วางแผน พูดได้ แต่ต้องติดทีละคน หลังจากทุกกลุ่มสร้างผลงานเสร็จแล้ว ก็ได้นำผลงานมาส่งหน้าห้อง อาจารย์ได้พูดถึงการนำวัสดุรอบตัวมาใช้กับการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สุงสุด แล้วอาจารย์ก็ได้เริ่มดูผลงานแต่ละชิ้น โดยผลงานแต่ละกลุ่มมีชื่อ ดังนี้ - กลุ่มแรก หุ่นยนต์ - กลุ่มสอง สถานนีรถไฟบางรัก - กลุ่มสาม บ้านหลากสี
บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 6
อาจารย์ได้เข้าสู่การเรียนการสอน ในเรื่องที่สอนยังคงเป็นในเรื่องของขอบข่ายของคณิตศาสตร์ทั้ง 12 ข้อ โดยยกตัวอย่างกับกล่องที่เตรียมมา ว่าจะนำมาใช้จัดประสบการณ์ได้อย่างไร เมื่ออาจารย์ยกตัวอย่างครบทั้ง 12 ข้อแล้วอาจารย์ก็ได้ให้เริ่มกิจกรรมดังนี้ ให้จับกลุ่ม 11 คนแล้วนำกล่องที่เตรียมมาของทุกคนในกลุ่มมาต่อกันให้เป็นรูปตามความคิดของแต่ละคนในกลุ่ม โดยที่มีข้อบังคับว่า - กลุ่มแรก วางแผน ปรึกษา พูดได้ - กลุ่มสอง วางแผน แต่พูดไม่ได้ - กลุ่มสาม วางแผน พูดได้ แต่ต้องติดทีละคน หลังจากทุกกลุ่มสร้างผลงานเสร็จแล้ว ก็ได้นำผลงานมาส่งหน้าห้อง อาจารย์ได้พูดถึงการนำวัสดุรอบตัวมาใช้กับการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์สุงสุด แล้วอาจารย์ก็ได้เริ่มดูผลงานแต่ละชิ้น โดยผลงานแต่ละกลุ่มมีชื่อ ดังนี้ - กลุ่มแรก หุ่นยนต์ - กลุ่มสอง สถานนีรถไฟบางรัก - กลุ่มสาม บ้านหลากสี
งานที่ได้รับมอบหมาย
1.ให้แต่ละกลุ่มประดิษฐ์งานคณิตศาสตร์ที่มอบหมายดังนี้
- กลุ่มแรกประดิษฐ์ ร้อยจำนวน
- กลุ่มสองประดิษฐ์ปฏิทิน
- กลุ่มสามประดิษฐ์ที่วัดแบบกราฟ
2. ให้เขียนชื่อวิจัยที่หามาได้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
วันศุกร์ ที่ 30 พฤศจิกายน 2555
วันนี้อาจารย์สอนและอธิบายเรื่องขอบข่ายของคณิตศาสตร์ ว่ามีอะไรบ้าง ในระดับปฐมวัยศึกษาของเนื้อหาหรือทักษะ (นิตยา ประพฤติกิจ) มีดังนี้
1.การนับ ->เลข (สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เรียกว่า ตัวเลขฮินดูอารบิก)
2.ตัวเลข ->กำกับค่า ลำดับที่
3.การจับคู่ -> สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกัน 4.
4.การจัดประเภท
5.การเปรียบเทียบ -> ใช้การสังเกต เด็กจะตอบตามที่ตาเห็น 6.66
6.การจัดลำดับ -> หน้า/หลัง , เตี้ย/สูง
7.รูปทรงและพื้นที่ -> รูปทรงมิติ เนื้อที่ ปริมาณ ความจุ
8.การวัด -> หาค่า ปริมาณ ความยาว
9.เซต -> การจับกลุ่ม
10.เศษส่วน -> การแบ่งให้เท่าหรือไม่เท่า ,เศษส่วน 11.
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย -> การทำตามแบบที่อยู่บนพื้นฐานวิธีการเรียนรู้ของเด็ก/ ต้องมีอิสระในการตัดสินใจ
12.การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ
-รูปธรรม-เห็นจริงปฏิบัติจริง
-นามธรรม-สามารถคิดได้โดยไม่ต้องเห็นรูป หรือปฏิบัติจริง
-กึ่งสัญลักษณ์-ถ้าเป็นส้อมก็ให้ใช้รูปส้อมมาให้เด็กดู
-การอนุรักษ์-เด็กจะมองว่าบอกปริมาณคงที่แม้รุปร่างจะเปลี่ยนแปลงไป (เยาวพา เดชะคุปต์) มีดังนี้
1.การจัดกลุ่มหรือเซต สิ่งที่ควรสอนได้แก่ การจับคู่ 1:1 การจับคู่สิ่งของ
2.จำนวน 1-10 การฝึกนับ 1-10 จำนวนคู่ จำนวนคี่ 3.
3.จำนวนและชื่อของตัวเลข 1=หนึ่ง 2=สอง 4.
4.ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ เช่น เซตรวมการแยกเซต 5.
5.คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม 6.
6.ลำดับที่สำคัญและประโยชน์คณิตศาสตร์ ได้แก่ ประโยชน์คณิตศาสตร์ที่แสดงถึง จำนวน ปริมาตร คุณภาพต่างๆ
7.การวัด ได้แก่ การวัดสิ่งที่เป็นของเหลว สิ่งของเงินตรา อุณหภูมิ
8.รูปทรงเรขาคณิต ได้แก่ การเปรียบเทียบรูปร่าง ขนาด
9.สถิติและกราฟ ได้แก่ การศึกษาจากการบันทึก ทำแผนภูมิการเปรียบเทียบต่างๆ
***อาจารย์สั่งงานอาทิตย์หน้าให้นำกล่องที่มีรูปทรงมาคนละ 1 กล่อง***
วันศุกร์ ที่ 30 พฤศจิกายน 2555
วันนี้อาจารย์สอนและอธิบายเรื่องขอบข่ายของคณิตศาสตร์ ว่ามีอะไรบ้าง ในระดับปฐมวัยศึกษาของเนื้อหาหรือทักษะ (นิตยา ประพฤติกิจ) มีดังนี้
1.การนับ ->เลข (สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เรียกว่า ตัวเลขฮินดูอารบิก)
2.ตัวเลข ->กำกับค่า ลำดับที่
3.การจับคู่ -> สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกัน 4.
4.การจัดประเภท
5.การเปรียบเทียบ -> ใช้การสังเกต เด็กจะตอบตามที่ตาเห็น 6.66
6.การจัดลำดับ -> หน้า/หลัง , เตี้ย/สูง
7.รูปทรงและพื้นที่ -> รูปทรงมิติ เนื้อที่ ปริมาณ ความจุ
8.การวัด -> หาค่า ปริมาณ ความยาว
9.เซต -> การจับกลุ่ม
10.เศษส่วน -> การแบ่งให้เท่าหรือไม่เท่า ,เศษส่วน 11.
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย -> การทำตามแบบที่อยู่บนพื้นฐานวิธีการเรียนรู้ของเด็ก/ ต้องมีอิสระในการตัดสินใจ
12.การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ
-รูปธรรม-เห็นจริงปฏิบัติจริง
-นามธรรม-สามารถคิดได้โดยไม่ต้องเห็นรูป หรือปฏิบัติจริง
-กึ่งสัญลักษณ์-ถ้าเป็นส้อมก็ให้ใช้รูปส้อมมาให้เด็กดู
-การอนุรักษ์-เด็กจะมองว่าบอกปริมาณคงที่แม้รุปร่างจะเปลี่ยนแปลงไป (เยาวพา เดชะคุปต์) มีดังนี้
1.การจัดกลุ่มหรือเซต สิ่งที่ควรสอนได้แก่ การจับคู่ 1:1 การจับคู่สิ่งของ
2.จำนวน 1-10 การฝึกนับ 1-10 จำนวนคู่ จำนวนคี่ 3.
3.จำนวนและชื่อของตัวเลข 1=หนึ่ง 2=สอง 4.
4.ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ เช่น เซตรวมการแยกเซต 5.
5.คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม 6.
6.ลำดับที่สำคัญและประโยชน์คณิตศาสตร์ ได้แก่ ประโยชน์คณิตศาสตร์ที่แสดงถึง จำนวน ปริมาตร คุณภาพต่างๆ
7.การวัด ได้แก่ การวัดสิ่งที่เป็นของเหลว สิ่งของเงินตรา อุณหภูมิ
8.รูปทรงเรขาคณิต ได้แก่ การเปรียบเทียบรูปร่าง ขนาด
9.สถิติและกราฟ ได้แก่ การศึกษาจากการบันทึก ทำแผนภูมิการเปรียบเทียบต่างๆ
***อาจารย์สั่งงานอาทิตย์หน้าให้นำกล่องที่มีรูปทรงมาคนละ 1 กล่อง***
บันทึกการเรียนครั้งที่ 4
วันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนการสอน ครั้งที่ 4
วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากมีกิจกรรมกีฬาสีศึกษาศาสตร์สัมพันธ์ ดิฉันได้เข้าร่วมกิจกรรมโดยทำหน้าที่ เป็นกองเชียร์
ภาพกิจกรรม
การจัดการแข่งขันกีฬาสีคณะศึกษาศาสตร์ในครั้งนี้สิ่งที่ได้รับคือ
1. ความสามามัคคีภายในหมู่คณะ
2. ความมีน้ำใจ
3. ความสนุกสนาน
บันทึกการเรียนครั้งที่ 2
วันที่ 9 พฤศจิกายน 2555
1. อาจารย์ให้เขียนคำว่า คณิตศาสตร์เป็นภาษาอังกฤษ
ความรู้ที่ได้รับ
เด็กได้รับรู็ว่าแมวตุ๊กตากับแมวจริงต่างกัน พฤติกรรมไม่เปลี่ยนแปลงจะไม่เรียนรู้ เด็กเรียนรู้ว่า ไม่กล้าเข้าใกล้แมวจริงๆ จนเกิดเป็นการเอาตัวรอด (พฤติกรรมไม่เปลี่ยนแปลง)
มองรอบตัว สิ่งที่เป็นคณิตศาสตร์ คือ
1. พัดลม (ใบพัดมี 5 อัน)
2. ไม้บรรทัด เป็นเครื่องมือในการวัด
3. ขวดน้ำ เป็นปริมาณ
4. นักศึกษา สถิติในการมาเรียน
5. นาฬิกา การดูเวลา
คณิตศาสตร์เป็นเรื่องรอบตัว ถ้าเด็กไม่ชอบคณิตศาสตร์ จะเกิดความบกพร่องทางภาษา
อาจารย์ให้ทำกิจกรรม เพลงเชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์
งานที่ได้รับมอบหมาย คือ เพลง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)